ขอบข่ายเนื้อหาการเรียนรู้กลุ่มสาระภาษาไทย
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ Quarter 2 ปีการศึกษา ๒๕๕๘
สัปดาห์ที่
|
วรรณกรรมเรื่อง /ตอน
|
ความเข้าใจ (แก่นวรรณกรรม)
|
หลักภาษา
|
เป้าหมายของการเรียนรู้หลักภาษา
|
1
|
ไม้หลา ปริศนาแห่งม้าตัวหนึ่ง : คาดเดาเรื่อง
|
คาดเดาเรื่องราวที่จะเกิดขึ้น จากการสังเกตรูปภาพและข้อความต่างๆที่ปรากฏอยู่ที่ปกของหนังสือวรรณกรรม
เรื่องไม้หลา ปริศนาแห่งม้าตัวหนึ่งได้
|
ความหมายโดยนัย
|
เข้าใจและสามารถคาดเดาเรื่องราวที่จะเกิดขึ้นจากหนังสือวรรณกรรมได้
|
2
|
ไม้หลา ปริศนาแห่งม้าตัวหนึ่ง : ตอนที่ 1
|
การกระทำของทั้งมนุษย์ม้าที่แสดงออกเพื่อสนองความต้องการของตนเอง
|
การเขียนแผนภาพโครงเรื่อง
|
สามารถเข้าใจและถ่ายทอดเรื่องราวที่ได้อ่านในรูปแบบการเขียนแผนภาพที่เป็นลำดับเรื่องราวได้
|
3
|
ไม้หลา ปริศนาแห่งม้าตัวหนึ่ง : ตอนที่ 2-3
|
บรรยากาศของการดำเนินชีวิตของม้าและคนเลี้ยงม้า
รวมถึงการแสดงออกตามสัญชาติญาณของม้าวัยรุ่นที่สำคัญในความสง่างามของตนเองในช่วงอายุหนึ่งเพื่อต้องการเรียกร้องความสนใจจากสิ่งอื่นรอบตัว
|
ชนิดและหน้าที่ของคำในประโยค
|
เข้าใจและสามารถอธิบายชนิดและหน้าที่ของคำต่างๆในประโยคต่างๆได้
|
4
|
ไม้หลา ปริศนาแห่งม้าตัวหนึ่ง : ตอนที่ 4-5
|
- พฤติกรรมการแสดงออกเพื่อข่มเหงผู้ซึ่งไร้การขัดขืน
เพียงเพราะรูปลักษณ์ภายนอก
- ขอบเขตแห่งคุณค่าของสิ่งมีชีวิตอื่นที่ถูกกำหนดจากมนุษย์ผู้ไร้ซึ่งความเข้าใจถึงแก่นแท้ของการมีชีวิต
|
ชนิดของประโยค
|
เข้าใจและสามารถอธิบายความหมายหรือบอกลักษณ์ของประโยคต่างๆที่มีอยู่ได้
|
5
|
ไม้หลา ปริศนาแห่งม้าตัวหนึ่ง : ตอนที่ 6
|
สถานะในการดำเนินชีวิตของม้าด่างที่มนุษย์
เป็นผู้แสดงออก เพียงเพราะคำว่า “ของของฉัน”
|
คำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
|
เข้าใจและสามารถอธิบายที่มาและการใช้ภาษาต่างประเทศที่ปรากฏอยู่บนเรื่องราวภายในวรรณกรรม
|
6
|
ไม้หลา ปริศนาแห่งม้าตัวหนึ่ง : ตอนที่ 7- 8
|
- ความจริงที่ถูกครอบงำและบิดเบือนด้วยสัญชาตญาณความกลัวของมนุษย์ที่จะเป็นภัยต่อตัวเอง
- คุณค่าแห่งชีวิตที่ถูกแสดงออกโดยไร้ผู้ซึ่งครอบครองชีวิต
|
การันต์
|
เข้าใจและสามารถอธิบายรูปแบบการใช้ตัวการันต์ในภาษาไทยจากบทบรรยายที่กล่าวไว้ในวรรณกรรม
|
7
|
ไม้หลา ปริศนาแห่งม้าตัวหนึ่ง : ตอนที่ 9 -11
|
-
การเปลี่ยนถ่ายความเป็น “ของของฉัน” ที่มนุษย์สร้างขึ้นให้ผู้อื่นได้ลิ้มรส
- เหตุการณ์ที่ทำให้ย้อนลำลึกถึงเรื่องราวที่ผ่านมา
|
สระ
|
เข้าใจและสามารถอธิบายความเชื่อมโยงของสระแต่ละประเภทกับการเขียนบรรยายเหตุการณ์ในวรรณกรรมที่ย้อนลำลึกถึงเรื่องราวที่ผ่านมา
|
8
|
ไม้หลา ปริศนาแห่งม้าตัวหนึ่ง : ตอนที่ 12-13
|
- การโอ้อวดถึงสิ่งที่ตนเองไม่มีอยู่จริง
- ปลดปล่อยอิสรภาพของตนเองด้วยการสาบ
สูญของชีวิต
- ประโยชน์ที่ยังมีอยู่ในสิ่งมีชีวิตอื่นภายหลังความตาย
ทั้งเศษซากและโครงกระดูก
แต่กับมนุษย์ผู้ซึ่งไร้ประโยชน์แม้หากตายแล้ว
หนอนสักตัวก็หาประโยชน์จากร่างมิได้
|
การแต่งเรื่องสั้น/การเล่านิทานและตำนาน
|
สามารถถ่ายทอดเรื่องราวจากความเข้าใจที่ได้จากการการอ่านหรือตามจินตนาการในรูปแบบการเขียนและการพูดได้
|
9
|
ไม้หลา ปริศนาแห่งม้าตัวหนึ่ง : วิเคราะห์และถ่ายทอด
|
วิเคราะห์และถ่ายทอดทัศคติและมุมมองต่างๆต่อเรื่องราวที่ได้อ่านจากวรรณกรรม
|
วิเคราะห์และถ่ายทอด
|
เข้าใจและสามารถถ่ายทอดทัศคติและมุมมองต่างๆต่อเรื่องราวที่ได้อ่านจากวรรณกรรม
|
ขอบเขตเนื้อหากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ปีการศึกษา ๒๕๕๘
สาระ/หลักภาษา
|
สาระ/หลักภาษา
|
สาระ/หลักภาษา
|
สาระ/หลักภาษา
|
๑. ความหมายโดยนัย
๒. ตัวสะกดตรงมาตรา
๓. ตัวสะกดไม่ตรงมาตรา
๔. อักษรนำ
๕. คำประวิสรรชนีย์
๖. คำไม่ประวิสรรชนีย์
๗. ตัวการันต์
๘. คำที่มีการันต์
๙. ตัว รร หัน
๑๐. คำพ้องรูป พ้องเสียง
๑๑. การเขียนแผนภาพโครงเรื่อง
๑๒. สำนวน สุภาษิต และคำพังเพย
๑๓. คำและหน้าที่ของคำ
|
๑. คาดเดาเรื่อง
๒. การเขียนแผนภาพโครงเรื่อง
๓. ชนิดและหน้าที่ของคำ
๔. ชนิดและหน้าที่ของประโยค
๕. คำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
๖. ตัวการันต์
๗. สระ
๘. การแต่งเรื่องสั้น
๙. สรุปและถ่ายทอด
|
๑. กลุ่มคำและชนิดของคำ
๒. การเขียนเรียงความ
๓. อักษรย่อ
๔. การพูดในโอกาสต่างๆ
๕. การเขียนย่อความ
๖. ภาษาถิ่น
๗. การเขียนนิทาน
๘. การเขียนรายงาน
๙. การเขียนการ์ตูน
๑๐. แผนภาพโครงเรื่อง
๑๑. เขียนบันทึกประจำวัน
๑๒. การแสดงละคร บทบาทสมมุติ
|
๑. ความหมายโดยนัย
๒. คำราชาศัพท์ คำสุภาพ
๓. บทร้อยกรอง
๔. บทความ
๕. คำตรงกันข้าม
๖. การแต่งเรื่องสั้น
๗. การแสดงละคร บทบาทสมมุติ
๘. แผนภาพโครงเรื่อง
๙. เขียนบันทึกประจำวัน
|
วรรณกรรมประเภทเรื่องสั้น
- ฟ้าบ่กั้น
|
วรรณกรรมต่างประเทศ
ไม้หลาปริศนาแห่งม้าตัวหนึ่ง
|
วรรณกรรมเยาวชน
- อธิฐานสิจ๊ะกับนางฟ้าสีเขียว
- ก่อกองทราย
- ตามล่า
|
วรรณกรรมประเภทวรรณคดีไทย
- นิทานเวตาล
- ขุนช้างขุนแผน
|
เวลาเรียน ๑๒ สัปดาห์ (๕๖ชั่วโมง)
|
เวลาเรียน ๙ สัปดาห์ (๔๕ ชั่วโมง)
|
เวลาเรียน ๑o สัปดาห์ ๕o ชั่วโมง)
|
เวลาเรียน ๑o สัปดาห์ (๕o ชั่วโมง)
|
ปฏิทินการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕
Quarter 2 ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๘ โรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา
เป้าหมายรายสัปดาห์
: เข้าใจและสามารถคาดเดาเรื่องราวที่จะเกิดขึ้นจากหนังสือวรรณกรรมเรื่อง
ไม้หลา ปริศนาแห่งม้าตัวหนึ่งได้
Week
|
input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
๑
|
วรรณกรรมเรื่อง : ไม้หลา ปริศนาแห่งม้าตัวหนึ่ง
หลักภาษา : ความหมายโดยนัย
|
-
คาดเดาเรื่องราวจากหนังสือวรรณกรรม เรื่องไม้หลา ปริศนาแห่งม้าตัวหนึ่ง
- แบ่งกลุ่ม แต่งเรื่องราว “ไม้หลา” ในความเข้าใจก่อนที่จะเริ่มเรียนรู้จากหนังสือ
- นำเสนอเรื่องราว
|
ภาระงาน : คาดเดาเรื่องจากวรรณกรรม
ไม้หลา ปริศนาแห่งม้าตัวหนึ่ง โดยถ่ายทอดผ่านการแต่งเรื่องราวพร้อมนำเสนอในรูปแบบที่สนใจ
ชิ้นงาน : เรื่องราวคาดเดาเกี่ยวกับไม้หรา
|
ความรู้ : เข้าใจและสามารถคาดเดาเรื่องราวที่จะเกิดขึ้นจากหนังสือวรรณกรรมเรื่อง
ไม้หลา ปริศนาแห่งม้าตัวหนึ่งได้
ทักษะ :
ทักษะการคิด
การคิดเชื่อมโยงเรื่องที่อ่านกับชีวิตประจำวันของตนเองได้
ทักษะการสื่อสาร
- อธิบายสิ่งที่ตนเอง/กลุ่มวางแผนและจัดทำชิ้นงานได้อย่างมีเหตุผลและน่าสนใจ
ทักษะการเรียนรู้
-
การวางแผนทำชิ้นงานสอดคล้องของเนื้อหาและ กิจกรรมที่ได้เรียนรู้
-
มีความกระตือรือร้นและลงมือทำสิ่งที่ได้เรียนรู้ด้วยตนเอง
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- มีความรับผิดชอบ
กระตือรือร้นในการทำงาน
- คิดสร้างสรรค์ชิ้นงาน
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
เป้าหมายรายสัปดาห์ :
เข้าใจและสามารถถ่ายทอดเรื่องราวที่ได้อ่านจากวรรณกรรมเกี่ยวกับการกระทำของทั้งมนุษย์ม้าที่แสดงออกเพื่อสนองความต้องการของตนเองออกมาในรูปแบบการเขียนแผนภาพโครงเรื่องที่ลำดับเหตุการณ์ต่างๆได้
Week
|
input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
๒
|
วรรณกรรมเรื่อง : ไม้หลา ปริศนาแห่งม้าตัวหนึ่ง (ตอนที่ ๑)
หลักภาษา : แผนภาพโครงเรื่อง
|
- อ่านวรรณกรรมไม้หลา
ปริศนาแห่งม้าตัวหนึ่ง (ตอนที่ ๑)
- วิเคราะห์เหตุการณ์และสิ่งที่ได้เรียนรู้จากวรรณกรรมนี้พร้อมสรุปความเข้าใจในรูปแบบแผนภาพโครงเรื่อง
- เล่นเกม “ถ่ายคำจากภาพ” และวิเคราะห์เหตุการณ์ที่สังเกตเห็นจากภาพ
- วาดภาพและถ่ายทอดบทความสรุปเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นของวรรณกรรม ในตอนที่ 1
|
ภาระงาน : วิเคราะห์เหตุการณ์และสิ่งที่ได้เรียนรู้จากวรรณกรรม
- วาดภาพและถ่ายทอดบทความสรุปเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นของวรรณกรรม
ในตอนที่ ๑
ชิ้นงาน : แผนภาพโครงเรื่องวรรณกรรมไม้หลา
: ตอนที่ ๑
- ภาพวาดเรื่องราวในตอนต่อไป
|
ความรู้ : เข้าใจและสามารถถ่ายทอดเรื่องราวที่ได้อ่านจากวรรณกรรมเกี่ยวกับการกระทำของทั้งมนุษย์ม้าที่แสดงออกเพื่อสนองความต้องการของตนเองออกมาในรูปแบบการเขียนแผนภาพโครงเรื่องที่ลำดับเหตุการณ์ต่างๆได้
ทักษะ :
ทักษะการคิด
การคิดเชื่อมโยงเรื่องที่อ่านกับชีวิตประจำวันของตนเองได้
ทักษะการสื่อสาร
- อธิบายสิ่งที่ตนเอง/กลุ่มวางแผนและจัดทำชิ้นงานในรูปแบบแผนภาพโครงเรื่องได้อย่างมีเหตุผลและน่าสนใจ
ทักษะการเรียนรู้
-
การวางแผนทำชิ้นงานสอดคล้องของเนื้อหาและ กิจกรรมที่ได้เรียนรู้
-
มีความกระตือรือร้นและลงมือทำสิ่งที่ได้เรียนรู้ด้วยตนเอง
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- มีความรับผิดชอบ
กระตือรือร้นในการทำงาน
- คิดสร้างสรรค์ชิ้นงาน
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
เป้าหมายรายสัปดาห์ :
เข้าใจและสามารถอธิบายชนิดและหน้าที่ของคำในประโยคจากจากหนังสือวรรณกรรมตอนนี้ที่บรรยากาศของการดำเนินชีวิตของม้าและคนเลี้ยงม้า
รวมถึงการแสดงออก ตามสัญชาติญาณของม้าวัยรุ่นที่สำคัญในความสง่างามของตนเองในช่วงอายุหนึ่งเพื่อต้องการเรียกร้องความสนใจจากสิ่งอื่นรอบตัวได้
Week
|
input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
๓
|
วรรณกรรมเรื่อง : ไม้หลา ปริศนาแห่งม้าตัวหนึ่ง (ตอนที่ ๒-๓)
หลักภาษา : ชนิดและหน้าที่ของคำ
|
- อ่านวรรณกรรมไม้หลา
ปริศนาแห่งม้าตัวหนึ่ง (ตอนที่ ๒-๓)
- วิเคราะห์เหตุการณ์และสิ่งที่ได้เรียนรู้จากวรรณกรรมนี้พร้อมสรุปความเข้าใจในรูปแบบแผนภาพโครงเรื่อง
-เล่นเกม “Bingo คำศัพท์”
- ร่วมวิเคราะห์และขีดเส้นใต้คำที่นักเรียนคิดว่าเป็น
(คำเชื่อม,คำนาม , คำบุพบท,คำวิเศษ,
และคำสันธาน)
- นำเสนอคำที่ได้จากบทความ พร้อมจัดหมวดหมู่
- นำคำที่ได้มาแต่งนิทาน คนละ ๑ เรื่อง
พร้อมนำเสนอ
- วาดภาพและถ่ายทอดบทความสรุปเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นของวรรณกรรม ในตอนที่
๒-๓
|
ภาระงาน : วิเคราะห์เหตุการณ์และสิ่งที่ได้เรียนรู้จากวรรณกรรมและสรุปในรูปแบบภาพเหตุการณ์
- จัดหมวดหมู่คำและนำมาแต่งนิทาน
๑เรื่อง
ชิ้นงาน : นิทานจากคำ
- ภาพวาดเหตุการณ์ในตอนที่ ๒-๓ภาพ
|
ความรู้ : เข้าใจและสามารถอธิบายชนิดและหน้าที่ของคำในประโยคจากจากหนังสือวรรณกรรมตอนนี้ที่บรรยากาศของการดำเนินชีวิตของม้าและคนเลี้ยงม้า
รวมถึงการแสดงออกตามสัญชาติญาณของม้าวัยรุ่นที่สำคัญในความสง่างามของตนเองในช่วงอายุหนึ่งเพื่อต้องการเรียกร้องความสนใจจากสิ่งอื่นรอบตัวได้
ทักษะ :
ทักษะการคิด
การคิดเชื่อมโยงเรื่องที่อ่านกับชีวิตประจำวันของตนเองได้
ทักษะการสื่อสาร
- สามารถอธิบายและถ่ายทอดความเข้าใจเกี่ยวกับชนิดและหน้าที่ของคำในรูปแบบนิทานได้
ทักษะการเรียนรู้
-
การวางแผนทำชิ้นงานสอดคล้องของเนื้อหาและ กิจกรรมที่ได้เรียนรู้
- มีความกระตือรือร้นและลงมือทำสิ่งที่ได้เรียนรู้ด้วยตนเอง
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- มีความรับผิดชอบ
กระตือรือร้นในการทำงาน
- คิดสร้างสรรค์ชิ้นงาน
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
เป้าหมายรายสัปดาห์
:เข้าใจและสามารถอธิบายชนิดและหน้าที่ของคำในประโยคได้จากวรรณกรรมที่ได้ถ่ายทอดเรื่องราวและพฤติกรรมการแสดงออกเพื่อข่มเหงผู้ซึ่งไร้การขัดขืน
เพียงเพราะรูปลักษณ์ภายนอก
Week
|
input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
๔
|
วรรณกรรมเรื่อง : ไม้หลา ปริศนาแห่งม้าตัวหนึ่ง (ตอนที่ ๔-๕)
หลักภาษา : ชนิดของประโยค
|
- อ่านวรรณกรรมไม้หลา
ปริศนาแห่งม้าตัวหนึ่ง (ตอนที่ ๔-๕)
- วิเคราะห์เหตุการณ์และสิ่งที่ได้เรียนรู้จากวรรณกรรม
- วาดภาพและถ่ายทอดบทความสรุปเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นของวรรณกรรม ในตอนที่
๔-๕
-เล่นเกม “เกมทบทวนหน้าที่ของประโยค”(ประโยคบอกเล่า
,ประโยคปฏิเสธ , ประโยคคำถาม ,
ประโยคคำสั่ง)
- นักเรียนร่มกันวิเคราะห์
รูปประโยคต่างๆ ที่มีอยู่ในเนื้อเรื่องของวรรณกรรมที่ครูหยิบยกขึ้นมา
(ประโยคความซ้อน , ประโยคความเดียว ,
ประโยคความรวม)
-
นักเรียนแต่ละคนยกตัวอย่างประโยค
- เล่นเกม “ท่าทางจากประโยค”
- ครูนำเสนอภาพ และให้นักเรียนแต่งประโยคจากภาพที่เห็น
-
นักเรียนวิเคราะห์และสรุปความเข้าใจเกี่ยวกับประโยค ในรูปแบบการ์ตูนช่อง
|
ภาระงาน : วิเคราะห์เหตุการณ์และสิ่งที่ได้เรียนรู้จากวรรณกรรมและสรุปในรูปแบบภาพเหตุการณ์
- วิเคราะห์รูปประโยคต่างๆ
ในวรรณกรรมตอนที่ ๔-๕
- ยกตัวอย่างประโยคและสรุปความเข้าใจในรูปแบบ
การ์ตูนช่องยกตัวอย่างประโยค
ชิ้นงาน :
- ภาพวาดเหตุการณ์ในตอนที่ ๔-๕ภาพ
- การ์ตูนช่องประโยคต่างๆ
|
ความรู้ : เข้าใจและสามารถอธิบายชนิดและหน้าที่ของคำในประโยคได้
ทักษะ :
ทักษะการคิด
การคิดเชื่อมโยงเรื่องที่อ่านกับชีวิตประจำวันของตนเองได้
ทักษะการสื่อสาร
- อธิบายสิ่งที่ตนเอง/กลุ่มวางแผนและจัดทำชิ้นงานในรูปแบบการ์ตูนช่องและภาพวาดเหตุการณ์จากวรรณกรรมที่อ่านได้
ทักษะการเรียนรู้
-
การวางแผนทำชิ้นงานสอดคล้องของเนื้อหาและ กิจกรรมที่ได้เรียนรู้
- มีความกระตือรือร้นและลงมือทำสิ่งที่ได้เรียนรู้ด้วยตนเอง
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- มีความรับผิดชอบ
กระตือรือร้นในการทำงาน
- คิดสร้างสรรค์ชิ้นงาน
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
เป้าหมายรายสัปดาห์
: เข้าใจและสามารถอธิบายที่มาและการใช้ภาษาต่างประเทศที่ปรากฏอยู่บนเรื่องราวภายในวรรณกรรมที่แสดงสถานะในการดำเนินชีวิตของม้าด่างที่มนุษย์
เป็นผู้แสดงออก เพียงเพราะคำว่า “ของของฉัน”
Week
|
input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
๕
|
วรรณกรรมเรื่อง : ไม้หลา ปริศนาแห่งม้าตัวหนึ่ง (ตอนที่ ๖)
หลักภาษา :
คำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
|
- อ่านวรรณกรรมไม้หลา
ปริศนาแห่งม้าตัวหนึ่ง (ตอนที่๖)
- วิเคราะห์เหตุการณ์และสิ่งที่ได้เรียนรู้จากวรรณกรรม
- วาดภาพและถ่ายทอดบทความสรุปเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นของวรรณกรรม ในตอนที่ ๖
- เล่นเกม “ฟังภาษา มาจากไหน”
- อภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับเกม “ฟังภาษา มาจากไหน”
- ครูและนักเรียนร่วมกันวิเคราะห์ภาษาต่างประเทศที่ปรากฏบน วรรณกรรมไม้หลา
ตอนที่ ๖
- นักเรียนจับฉลากแบ่งกลุ่ม
- แต่ละกลุ่มออกแบบ “พจนานุกรม ภาษาต่างประเทศ” สำหรับวรรณกรรมเรื่องไม้หราพร้อมนำเสนอ
|
ภาระงาน : วิเคราะห์เหตุการณ์และสิ่งที่ได้เรียนรู้จากวรรณกรรมและสรุปในรูปแบบภาพเหตุการณ์
- วิเคราะห์รูปประโยคต่างๆ
ในวรรณกรรมตอนที่ ๖
- อภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับเกม “ฟังภาษา มาจากไหน”
- ออกแบบ “พจนานุกรม
ภาษาต่างประเทศ” สำหรับวรรณกรรมเรื่องไม้หราพร้อมนำเสนอ
ชิ้นงาน :
- ภาพวาดเหตุการณ์ในตอนที่ ๖ภาพ
- “พจนานุกรม
ภาษาต่างประเทศ” สำหรับวรรณกรรมเรื่องไม้หรา
|
ความรู้ : เข้าใจและสามารถอธิบายที่มาและการใช้ภาษาต่างประเทศที่ปรากฏอยู่บนเรื่องราวภายในวรรณกรรมที่แสดงสถานะในการดำเนินชีวิตของม้าด่างที่มนุษย์
เป็นผู้แสดงออก เพียงเพราะคำว่า “ของของฉัน”
ทักษะ :
ทักษะการคิด
การคิดเชื่อมโยงเรื่องที่อ่านกับชีวิตประจำวันของตนเองได้
ทักษะการสื่อสาร
- อธิบายสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้เกี่ยวกับคำที่มาจากภาษาต่างประเทศในรูปแบบพจนานุกรมได้
ทักษะการเรียนรู้
- การวางแผนทำชิ้นงานสอดคล้องของเนื้อหาและ
กิจกรรมที่ได้เรียนรู้
-
มีความกระตือรือร้นและลงมือทำสิ่งที่ได้เรียนรู้ด้วยตนเอง
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- มีความรับผิดชอบ กระตือรือร้นในการทำงาน
- คิดสร้างสรรค์ชิ้นงาน
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
เป้าหมายรายสัปดาห์
: เข้าใจและสามารถอธิบายรูปแบบการใช้ตัวการันต์ในภาษาไทยจากบทบรรยายที่กล่าวไว้ในวรรณกรรมที่เกี่ยวกับความจริงที่ถูกครอบงำและบิดเบือนด้วยสัญชาตญาณความกลัวของมนุษย์ที่จะเป็นภัยต่อตัวเองได้
Week
|
input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
๖
|
วรรณกรรมเรื่อง : ไม้หลา ปริศนาแห่งม้าตัวหนึ่ง (ตอนที่ ๗-๘)
หลักภาษา : ตัวการันต์
|
- อ่านวรรณกรรมไม้หลา ปริศนาแห่งม้าตัวหนึ่ง
(ตอนที่๗-๘)
- วิเคราะห์เหตุการณ์และสิ่งที่ได้เรียนรู้จากวรรณกรรม
- วาดภาพและถ่ายทอดบทความสรุปเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นของวรรณกรรม ในตอนที่
๗-๘
- ครูให้นักเรียน
เขียนคำในภาษาไทย ที่มีตัวการันต์ ที่ตนเองรู้จัก (ให้ได้มากที่สุด โดยกำหนดเวลา
๓ นาที)
-
ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับตัวการันต์ในภาษาไทย
- นักเรียนร่วมกันวงกลม
รอบคำที่มีตัวการันต์ในวรรณกรรมไม้หลาตอนที่ ๗-๘ (ครูเลือกมาช่วงสั้นๆ)
- เล่นเกม “ถูกๆผิดๆ กับ ตัวการันต์ “
( เช่น สค์าตง ,ล์รมถลเม ,ณ์กสหร
- นักเรียนสรุปความเข้าใจเกี่ยวกับตัวการันต์ ในรูปแบบ ตารางภาพและคำ
|
ภาระงาน : วิเคราะห์เหตุการณ์และสิ่งที่ได้เรียนรู้จากวรรณกรรมและสรุปในรูปแบบภาพเหตุการณ์
- วิเคราะห์รูปประโยคต่างๆ
ในวรรณกรรมตอนที่ ๗-๘
- อภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับตัวการันต์
- เล่นเกม “ถูกๆผิดๆ กับ ตัวการันต์ “
- สรุปความเข้าใจเกี่ยวกับตัวการันต์
ในรูปแบบ ตารางภาพและคำที่มีตัวการันต์
ชิ้นงาน :
- ภาพวาดเหตุการณ์ในตอนที่ ๗-๘ภาพ
- ตารางภาพและคำที่มีตัวการันต์
|
ความรู้ : เข้าใจและสามารถอธิบายรูปแบบการใช้ตัวการันต์ในภาษาไทยจากบทบรรยายที่กล่าวไว้ในวรรณกรรมที่เกี่ยวกับความจริงที่ถูกครอบงำและบิดเบือนด้วยสัญชาตญาณความกลัวของมนุษย์ที่จะเป็นภัยต่อตัวเองได้
ทักษะ :
ทักษะการคิด
การคิดเชื่อมโยงเรื่องที่อ่านกับชีวิตประจำวันของตนเองได้
ทักษะการสื่อสาร
-
อธิบายเกี่ยวกับการใช้ตัวการันต์ในคำที่ปรากฏในวรรณกรรมที่อ่านได้
ทักษะการเรียนรู้
-
การวางแผนทำชิ้นงานสอดคล้องของเนื้อหาและ กิจกรรมที่ได้เรียนรู้
-
มีความกระตือรือร้นและลงมือทำสิ่งที่ได้เรียนรู้ด้วยตนเอง
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- มีความรับผิดชอบ
กระตือรือร้นในการทำงาน
- คิดสร้างสรรค์ชิ้นงาน
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
เป้าหมายรายสัปดาห์ :
เข้าใจและสามารถอธิบายความเชื่อมโยงของสระแต่ละประเภทกับการเขียนบรรยายเหตุการณ์ในวรรณกรรมที่ย้อนลำลึกถึงเรื่องราวที่ผ่านมา
Week
|
input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
๗
|
วรรณกรรมเรื่อง : ไม้หลา ปริศนาแห่งม้าตัวหนึ่ง (ตอนที่ ๙-๑๑)
หลักภาษา : สระคงรูป สระลดรูปและสระประสม
|
- อ่านวรรณกรรมไม้หลา ปริศนาแห่งม้าตัวหนึ่ง(ตอนที่๙-๑๑)
- วิเคราะห์เหตุการณ์และสิ่งที่ได้เรียนรู้จากวรรณกรรม
- วาดภาพและถ่ายทอดบทความสรุปเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นของวรรณกรรม ในตอนที่
๙-๑๑
- เล่นเกม “ถอดภาพเป็นคำ” และปริศนาทาย
- ครูและบทความสั้นๆจากวรรณกรรม
ในตอนที่ ๙-๑๑ มาให้นักเรียนร่วมวิเคราะห์ (สระที่สังเกตเห็น)
- ร่วมกันจัดหมวดหมู่ และสรุปในรูปแบบ
Mind Mapping
- ครูให้นักเรียนอ่านคำติดไว้บนบอร์ด
(คำที่ออกเสียงตามหมวดสระต่างๆ)
- วิเคราะห์สิ่งที่ได้จากการอ่าน
- เล่น เกม “เปลี่ยนสระ”
- นักเรียนแต่ละคนสรุปความเข้าใจเกี่ยวกับสระในรูปแบบ
“ไม้แขวนเสื้อบอกสระ” (ใช้อุปกรณ์หลักจากไม้แขนเสื้อ)
|
ภาระงาน : วิเคราะห์เหตุการณ์และสิ่งที่ได้เรียนรู้จากวรรณกรรมและสรุปในรูปแบบภาพเหตุการณ์
-
วิเคราะห์รูปแบบสระในวรรณกรรมที่อ่าน
- จัดหมวดหมู่ สระในรูปแบบ Mind
Mapping
- วิเคราะห์สิ่งที่ได้อ่าน
-
สรุปความเข้าใจเกี่ยวกับสระในรูปแบบ “ไม้แขวนเสื้อบอกสระ”
ชิ้นงาน :
- ภาพวาดเหตุการณ์ในตอนที่ ๙-๑๑ภาพ
- Mind
Mapping หมวดหมู่สระ
- “ไม้แขวนเสื้อบอกสระ”
|
ความรู้ : เข้าใจและสามารถอธิบายความเชื่อมโยงของสระแต่ละประเภทประกอบด้วย
สระคงรูป สระลดรูปและสระประสม
ทักษะ :
ทักษะการคิด
การคิดเชื่อมโยงเรื่องที่อ่านกับชีวิตประจำวันของตนเองได้
ทักษะการสื่อสาร
- อธิบายสิ่งที่ได้เรียนรู้เกี่ยวกับสระในลักษณะต่างๆได้
ทักษะการเรียนรู้
-
การวางแผนทำชิ้นงานสอดคล้องของเนื้อหาและ กิจกรรมที่ได้เรียนรู้
-
มีความกระตือรือร้นและลงมือทำสิ่งที่ได้เรียนรู้ด้วยตนเอง
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- มีความรับผิดชอบ
กระตือรือร้นในการทำงาน
- คิดสร้างสรรค์ชิ้นงาน
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
เป้าหมายรายสัปดาห์ :
เข้าใจและสามารถถ่ายทอดเรื่องราวจากความเข้าใจที่ได้จากการการอ่านหรือตามจินตนาการในรูปแบบการเขียนและการพูดได้
Week
|
input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
๘
|
วรรณกรรมเรื่อง : ไม้หลา ปริศนาแห่งม้าตัวหนึ่ง (ตอนที่ ๑๒-๑๓)
หลักภาษา : การแต่งเรื่องสั้น
- การเขียนบรรยาย
|
- อ่านวรรณกรรมไม้หลา
ปริศนาแห่งม้าตัวหนึ่ง
(ตอนที่๑๒ -๑๓)
- วิเคราะห์เหตุการณ์และสิ่งที่ได้เรียนรู้จากวรรณกรรม
- วาดภาพและถ่ายทอดบทความสรุปเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นของวรรณกรรม ในตอนที่
๑๒-๑๓
- ครูอ่านเรื่องสั้น”จากหนังสือ สายลมกับท่งหญ้า” ให้นักเรียนฟัง
- นักเรียนแต่ละคนวิเคราะห์
สิ่งที่ได้เรียนรู้จากการฟังเรื่องสั้น
- ครูจับฉลากแบ่งกลุ่ม “อ่านเรื่องสั้น”
- แต่ละกลุ่มนำเสนอเรื่องราวจากเรื่องสั้นที่ได้อ่าน
- นักเรียนแต่ละคนแต่งเรื่องสั้นของตนเอง
- นำเสนอ เรื่องสั้น
|
ภาระงาน : วิเคราะห์เหตุการณ์และสิ่งที่ได้เรียนรู้จากวรรณกรรมและสรุปในรูปแบบภาพเหตุการณ์
- วิเคราะห์
สิ่งที่ได้เรียนรู้จากการฟังและการอ่านเรื่องสั้น
- แต่งเรื่องสั้นและนำเสนอ
ชิ้นงาน :
- ภาพวาดเหตุการณ์ในตอนที่ ๑๒-๑๓
- เรื่องสั้น
|
ความรู้ : สามารถถ่ายทอดเรื่องราวจากความเข้าใจที่ได้จากการการอ่านหรือตามจินตนาการในรูปแบบการเขียนและการพูดได้
ทักษะ :
ทักษะการคิด
การคิดเชื่อมโยงเรื่องที่อ่านกับชีวิตประจำวันของตนเองได้
ทักษะการสื่อสาร
- ถ่ายทอดเรื่องราวจากความเข้าใจที่ได้จากการการอ่านหรือตามจินตนาการในรูปแบบการเขียนและการพูด
ทักษะการเรียนรู้
-
การวางแผนทำชิ้นงานสอดคล้องของเนื้อหาและ กิจกรรมที่ได้เรียนรู้
-
มีความกระตือรือร้นและลงมือทำสิ่งที่ได้เรียนรู้ด้วยตนเอง
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
เป้าหมายรายสัปดาห์
: เข้าใจและสามารถถ่ายทอดทัศคติและมุมมองต่างๆต่อเรื่องราวที่ได้อ่านจากวรรณกรรม
Week
|
input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
๙
|
วรรณกรรมเรื่อง : ไม้หลา ปริศนา
หลักภาษา
: การเขียนสรุป
- ถ่ายทอดแก่นแท้ของวรรณกรรม
|
- ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้เกี่ยวกับวิชาภาษาไทยโดยใช้วรรณกรรมเรื่อง
“ไม้หลา”
และหลักภาษาที่ใช้
- นักเรียนจับฉลากแบ่งกลุ่ม และร่วมวางแผนรูปแบบการนำเสนอ สิ่งที่ได้เรียนรู้
- นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้
ในรูปแบบที่วางแผน
- นักเรียนสรุปการเรียนรู้หลังเรียน ในรูปแบบ Mind
Mapping
|
ภาระงาน :
วิเคราะห์เหตุการณ์และสิ่งที่ได้เรียนรู้จากวรรณกรรม
- วางแผนรูปแบบการนำเสนอ สิ่งที่ได้เรียนรู้
- นำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้ ในรูปแบบที่วางแผน
- สรุปการเรียนรู้หลังเรียน ในรูปแบบ Mind
Mapping
ชิ้นงาน :
- Mind Mapping สรุปการเรียนรู้หลังเรียน
|
ความรู้ : เข้าใจและสามารถถ่ายทอดทัศคติและมุมมองต่างๆต่อเรื่องราวที่ได้อ่านจากวรรณกรรม
ทักษะ :
ทักษะการคิด
การคิดเชื่อมโยงเรื่องที่อ่านกับชีวิตประจำวันของตนเองได้
ทักษะการสื่อสาร
- ถ่ายทอดทัศคติและมุมมองต่างๆต่อเรื่องราวที่ได้อ่านจากวรรณกรรม
ทักษะการเรียนรู้
- การวางแผนทำชิ้นงานสอดคล้องของเนื้อหาและ
กิจกรรมที่ได้เรียนรู้
- มีความกระตือรือร้นและลงมือทำสิ่งที่ได้เรียนรู้ด้วยตนเอง
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- มีความรับผิดชอบ กระตือรือร้นในการทำงาน
- คิดสร้างสรรค์ชิ้นงาน
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
ตารางวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้กับมาตรฐานและตัวชี้วัดสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ปีการศึกษา ๒๕๕๘ Quarter 2 ภาคเรียนที่ ๑
หน่วยการเรียน “วรรณกรรม เรื่อง ไม้หลา ปริศนาแห่งม้าตัวหนึ่ง”
สัปดาห์
ว/ด/ป
|
หน่วยการเรียนย่อยและสาระการเรียนรู้
|
การอ่าน
ท.๑.๑
|
การเขียน
ท ๒.๑
|
การฟัง ดู และพูด
ท ๓.๑
|
หลักการใช้ภาษา
ท๔.๑
|
วรรณคดีและวรรณกรรม
ท ๕.๑
|
เป้าหมายการเรียนรู้
|
สัปดาห์ที่ ๑
(๑๐
– ๑๔)
ส.ค ๒๕๕๘
|
หน่วยการเรียนรู้
นิทานไม้หลา ปริศนาแห่งม้าตัวหนึ่ง
หลักภาษาไทย
- ทบทวนความรู้
- การคาดเดาเรื่อง
- เขียนตามคำบอก
|
ป.๕/๓ อธิบาความหมาย
โดยนัยจากเรื่องที่อ่าน
อย่างหลากหลาย
ป.๕/๔ แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน
ป.๕/๕
วิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านเพื่อนำไปใช้ในการดำเนินชีวิต
ป.๕/๗อ่านหนังสือตามความสนใจอย่างสม่ำเสมอและนำเสนอเรื่องที่อ่าน
ป.๕/๘ มีมารยาทใน
การอ่าน
|
ป.๕/๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด
ป.๕/๒ เขียนสื่อสารโดยใช้คำได้ถูกต้อง ชัดเจน และเหมาะสม
ป.๕/๖ เขียนแสดงความรู้สึกและความคิดเห็นได้ตรงตามเจตนา
ป.๕/๘เขียนเรื่องตามจินตนาการ
ป.๕/๙ มีมารยาทใน
การเขียน
|
ป.๕/๑พูดแสดงความรู้ความคิดเห็นและ
ความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.๕/๒ตั้งคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผล
จากเรื่องที่ฟังและดู
ป.๕/๓วิเคราะห์ความน่าเชื่อถือจากเรื่อง
ที่ฟังและดูอย่างมีเหตุผล
ป.๕/๕มีมารยาทในการฟังการดูและ
การพูด
|
ป.๕/๑ระบุชนิดและหน้าที่ของคำในประโยค
ป.๕/๒จำแนกส่วนประกอบของประโยค
|
ป.๕/๑สรุปเรื่องจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่อ่าน
ป.๕/๒ระบุความรู้และข้อคิดจากการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมที่สามารถ
นำไปใช้ในชีวิตจริง
ป.๕/๓อธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรม
|
เข้าใจและสามารถคาดเดาเรื่องราวที่จะเกิดขึ้นจากหนังสือวรรณกรรมเรื่อง
ไม้หลา ปริศนาแห่งม้าตัวหนึ่งได้
|
สัปดาห์
ว/ด/ป
|
หน่วยการเรียนย่อยและสาระการเรียนรู้
|
การอ่าน
ท๑.๑
|
การเขียน
ท ๒.๑
|
การฟัง ดู และพูด
ท ๓.๑
|
หลักการใช้ภาษา
ท๔.๑
|
วรรณคดีและวรรณกรรม
ท ๕.๑
|
เป้าหมายการเรียนรู้
|
สัปดาห์ที่
๒
(๑๗– ๒๑)
ส.ค ๒๕๕๘
|
หน่วยการเรียนรู้
นิทานไม้หลา
ปริศนาแห่งม้าตัวหนึ่ง ตอนที่ ๑
หลักภาษาไทย
แผนภาพโครงเรื่อง
|
ป.๕/๓
อธิบาความหมาย
โดยนัยจากเรื่องที่อ่าน
อย่างหลากหลาย
ป.๕/๔
แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน
ป.๕/๕
วิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านเพื่อนำไปใช้ในการดำเนินชีวิต
ป.๕/๗อ่านหนังสือตามความสนใจอย่างสม่ำเสมอและนำเสนอเรื่องที่อ่าน
ป.๕/๘
มีมารยาทใน
การอ่าน
|
ป.๕/๒
เขียนสื่อสารโดยใช้คำได้ถูกต้อง ชัดเจน และเหมาะสม
ป.๕/๓เขียนแผนภาพโครงเรื่อง
และแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขียน
ป.๕/๖เขียนแสดงความรู้สึกและความคิดเห็นได้ตรงตามเจตนา
ป.๕/๘เขียนเรื่องตามจินตนาการ
ป.๕/๙
มีมารยาทใน
การเขียน
ป.๖/๔
เขียนเรียงความ
|
ป.๕/๑พูดแสดงความรู้ความคิดเห็นและ
ความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.๕/๒ตั้งคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผล
จากเรื่องที่ฟังและดู
ป.๕/๓วิเคราะห์ความน่าเชื่อถือจากเรื่อง
ที่ฟังและดูอย่างมีเหตุผล
ป.๕/๕มีมารยาทในการฟังการดูและ
การพูด
|
ป.๕/๑ระบุชนิดและหน้าที่ของคำในประโยค
ป.๕/๒จำแนกส่วนประกอบของประโยค
ป.๕/๔ใช้คำราชาศัพท์ได้ถูกต้อง
ป.๕/๗ใช้สำนวนได้ถูกต้อง
|
ป.๕/๑สรุปเรื่องจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่อ่าน
ป.๕/๒ระบุความรู้และข้อคิดจากการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมที่สามารถ
นำไปใช้ในชีวิตจริง
ป.๕/๓อธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรม
|
เข้าใจและสามารถถ่ายทอดเรื่องราวที่ได้อ่านจากวรรณกรรมเกี่ยวกับการกระทำของทั้งมนุษย์ม้าที่แสดงออกเพื่อสนองความต้องการของตนเองออกมาในรูปแบบการเขียนแผนภาพโครงเรื่องที่ลำดับเหตุการณ์ต่างๆได้
|
สัปดาห์
ว/ด/ป
|
หน่วยการเรียนย่อยและสาระการเรียนรู้
|
การอ่าน
ท๑.๑
|
การเขียน
ท ๒.๑
|
การฟัง ดู และพูด
ท ๓.๑
|
หลักการใช้ภาษา
ท๔.๑
|
วรรณคดีและวรรณกรรม
ท ๕.๑
|
เป้าหมายการเรียนรู้
|
สัปดาห์ที่
๓
(๒๔– ๒๘ )
ส.ค. ๒๕๕๘
|
หน่วยการเรียนรู้
นิทานไม้หลา
ปริศนาแห่งม้าตัวหนึ่ง ตอนที่ ๒ -๓
หลักภาษาไทย
ชนิดและหน้าที่ของคำ
|
ป.๕/๑
อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง
ป.๕/๒
อธิบายความหมายของคำ ประโยค
และข้อความที่เป็นการบรรยายและการพรรณนา
ป.๕/๓
อธิบายความหมายโดยนัย จากเรื่องที่อ่านอย่างหลากหลาย
ป.๕/๔
แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน
ป.๕/๕
วิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านเพื่อนำไปใช้ในการดำเนินชีวิต
ป.๕/๖
อ่านงานเขียนเชิงอธิบาย คำสั่ง
ข้อแนะนำ
และปฏิบัติตาม
ป.๕/๗
อ่านหนังสือตามความสนใจอย่างสม่ำเสมอและนำเสนอเรื่องที่อ่าน
ป.๕/๘
มีมารยาทในการอ่าน
|
ป.๕/๒
เขียนสื่อสารโดยใช้คำได้ถูกต้อง ชัดเจน และเหมาะสม
ป.๕/๓
เขียนแผนภาพโครงเรื่อง และแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขียน
ป.๕/๔
เขียนย่อความจากเรื่องที่อ่าน
ป.๕/๖
เขียนแสดงความรู้สึกและความคิดเห็นได้ตรงตามเจตนา
ป.๕/๘
เขียนเรื่องตามจินตนาการ
ป.๕/๙
มีมารยาทในการเขียน
|
ป.๕/๑
พูดแสดงความรู้ ความคิดเห็น และ
ความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.๕/๒
ตั้งคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผล
จากเรื่องที่ฟังและดู
ป.๕/๓
วิเคราะห์ความน่าเชื่อถือจากเรื่อง
ที่ฟังและดูอย่างมีเหตุผล
ป.๕/๔
พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษา
ค้นคว้าจากการฟัง
การดู และการสนทนา
ป.๕/๕
มีมารยาทในการฟัง การดู และ
การพูด
|
ป.๕/๑
ระบุชนิดและหน้าที่ของคำในประโยค
ป.๕/๒
จำแนกส่วนประกอบของประโยค
ป.๕/๓
เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถิ่น
ป.๕/๗
ใช้สำนวนได้ถูกต้อง
|
ป.๕/๑
สรุปเรื่องจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่อ่าน
ป.๕/๒
ระบุความรู้และข้อคิดจากการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมที่สามารถ
นำไปใช้ในชีวิตจริง
|
เข้าใจและสามารถอธิบายชนิดและหน้าที่ของคำในประโยคจากจากหนังสือวรรณกรรมตอนนี้ที่บรรยากาศของการดำเนินชีวิตของม้าและคนเลี้ยงม้า
รวมถึงการแสดงออกตามสัญชาติญาณของม้าวัยรุ่นที่สำคัญในความสง่างามของตนเองในช่วงอายุหนึ่งเพื่อต้องการเรียกร้องความสนใจจากสิ่งอื่นรอบตัวได้
|
สัปดาห์
ว/ด/ป
|
หน่วยการเรียนย่อยและสาระการเรียนรู้
|
การอ่าน
ท.๑.๑
|
การเขียน
ท ๒.๑
|
การฟัง ดู และพูด
ท ๓.๑
|
หลักการใช้ภาษา
ท๔.๑
|
วรรณคดีและวรรณกรรม
ท ๕.๑
|
เป้าหมายการเรียนรู้
|
สัปดาห์ที่ ๔
(๓๑ – ๔ )
ก.ย.
๒๕๕๘
|
หน่วยการเรียนรู้
นิทานไม้หลา ปริศนาแห่งม้าตัวหนึ่ง ตอนที่ ๔- ๕
หลักภาษาไทย
ชนิดและหน้าที่ของประโยค
|
ป.๕/๑อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง
ป.๕/๒อธิบายความหมายของคำประโยค
และข้อความที่เป็นการบรรยายและการพรรณนา
ป.๕/๓อธิบายความหมายโดยนัยจากเรื่องที่อ่านอย่างหลากหลาย
ป.๕/๔แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน
ป.๕/๕วิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านเพื่อนำไปใช้ในการดำเนินชีวิต
ป.๕/๖อ่านงานเขียนเชิงอธิบายคำสั่ง
ข้อแนะนำและปฏิบัติตาม
ป.๕/๗อ่านหนังสือตามความสนใจอย่างสม่ำเสมอและนำเสนอเรื่องที่อ่าน
ป.๕/๘ มีมารยาทใน
การอ่าน
|
ป.๕/๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด
ป.๕/๒ เขียนสื่อสารโดยใช้คำได้ถูกต้อง
ชัดเจน
และเหมาะสม
ป.๕/๓เขียนแผนภาพโครงเรื่อง และแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขียน
ป.๕/๔เขียนย่อความจากเรื่องที่อ่าน
ป.๕/๖เขียนแสดงความรู้สึกและความคิดเห็นได้ตรงตามเจตนา
ป.๕/๘เขียนเรื่องตามจินตนาการ
ป.๕/๙ มีมารยาทใน
การเขียน
|
ป.๕/๑พูดแสดงความรู้ความคิดเห็นและ
ความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.๕/๒ตั้งคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผล
จากเรื่องที่ฟังและดู
ป.๕/๓วิเคราะห์ความน่าเชื่อถือจากเรื่อง
ที่ฟังและดูอย่างมีเหตุผล
ป.๕/๔พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษา
ค้นคว้าจากการฟังการดูและการสนทนา
ป.๕/๕มีมารยาทในการฟังการดูและ
การพูด
|
ป.๕/๑ ระบุชนิดและหน้าที่ของคำในประโยค
ป.๕/๒ จำแนกส่วนประกอบของประโยค
ป.๕/๓เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถิ่น
ป.๕/๕บอกคำภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
ป.๕/๗ใช้สำนวนได้ถูกต้อง
|
ป.๕/๑สรุปเรื่องจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่อ่าน
ป.๕/๒ระบุความรู้และข้อคิดจากการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมที่สามารถ
นำไปใช้ในชีวิตจริง
ป.๕/๓อธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรม
ป.๕/๔ท่องจำบทอาขยานตามที่กำหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ
|
เข้าใจและสามารถอธิบายชนิดและหน้าที่ของประโยคได้จากวรรณกรรมที่ได้ถ่ายทอดเรื่องราวและพฤติกรรมการแสดงออกเพื่อข่มเหงผู้ซึ่งไร้การขัดขืน
เพียงเพราะ
รูปลักษณ์ภายนอก
|
สัปดาห์
ว/ด/ป
|
หน่วยการเรียนย่อยและสาระการเรียนรู้
|
การอ่าน
ท.๑.๑
|
การเขียน
ท ๒.๑
|
การฟัง ดู และพูด
ท ๓.๑
|
หลักการใช้ภาษา
ท๔.๑
|
วรรณคดีและวรรณกรรม
ท ๕.๑
|
เป้าหมายการเรียนรู้
|
สัปดาห์ที่ ๕
(๗ – ๑๑)
ก.ย.
๒๕๕๘
|
หน่วยการเรียนรู้
นิทานไม้หลา
ปริศนาแห่งม้าตัวหนึ่ง ตอนที่ ๖
หลักภาษาไทย
-
คำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
|
ป.๕/๑อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง
ป.๕/๒อธิบายความหมายของคำประโยค
และข้อความที่เป็นการบรรยายและการพรรณนา
ป.๕/๓อธิบายความหมายโดยนัยจากเรื่องที่อ่านอย่างหลากหลาย
ป.๕/๔แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน
ป.๕/๕วิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านเพื่อนำไปใช้ในการดำเนินชีวิต
ป.๕/๖
อ่านงานเขียนเชิงอธิบายคำสั่ง
ข้อแนะนำและปฏิบัติตาม
ป.๕/๗อ่านหนังสือตามความสนใจอย่างสม่ำเสมอและนำเสนอเรื่องที่อ่าน
ป.๕/๘
มีมารยาทใน
การอ่าน
|
ป.๕/๑
คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด
ป.๕/๒
เขียนสื่อสารโดยใช้คำได้ถูกต้อง ชัดเจน และเหมาะสม
ป.๕/๓เขียนแผนภาพโครงเรื่อง
และแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขียน
ป.๕/๖เขียนแสดงความรู้สึกและความคิดเห็นได้ตรงตามเจตนา
ป.๕/๘เขียนเรื่องตามจินตนาการ
ป.๕/๙
มีมารยาทใน
การเขียน
|
ป.๕/๑พูดแสดงความรู้ความคิดเห็นและ
ความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.๕/๒ตั้งคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผล
จากเรื่องที่ฟังและดู
ป.๕/๓วิเคราะห์ความน่าเชื่อถือจากเรื่อง
ที่ฟังและดูอย่างมีเหตุผล
ป.๕/๔พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษา
ค้นคว้าจากการฟังการดูและการสนทนา
ป.๕/๕มีมารยาทในการฟังการดูและ
การพูด
|
ป.๕/๑
ระบุชนิดและหน้าที่ของคำในประโยค
ป.๕/๒
จำแนกส่วนประกอบของประโยค
ป.๕/๓เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถิ่น
ป.๕/๕บอกคำภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
ป.๕/๗ใช้สำนวนได้ถูกต้อง
|
ป.๕/๑สรุปเรื่องจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่อ่าน
ป.๕/๒ระบุความรู้และข้อคิดจากการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมที่สามารถ
นำไปใช้ในชีวิตจริง
ป.๕/๓อธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรม
|
เข้าใจและสามารถอธิบายที่มาและการใช้ภาษาต่างประเทศที่ปรากฏอยู่บนเรื่องราวภายในวรรณกรรมที่แสดงสถานะในการดำเนินชีวิตของม้าด่างที่มนุษย์
เป็นผู้แสดงออก เพียงเพราะคำว่า “ของของฉัน”
|
สัปดาห์
ว/ด/ป
|
หน่วยการเรียนย่อยและสาระการเรียนรู้
|
การอ่าน
ท.๑.๑
|
การเขียน
ท ๒.๑
|
การฟัง ดู และพูด
ท ๓.๑
|
หลักการใช้ภาษา
ท๔.๑
|
วรรณคดีและวรรณกรรม
ท ๕.๑
|
เป้าหมายการเรียนรู้
|
สัปดาห์ที่ ๖
(๑๔ – ๑๘ )ก.ย.
๒๕๕๘
|
หน่วยการเรียนรู้
นิทานไม้หลา
ปริศนาแห่งม้าตัวหนึ่ง ตอนที่ ๗ -๘
หลักภาษาไทย
- ตัวการันต์
|
ป.๕/๑อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง
ป.๕/๒อธิบายความหมายของคำประโยค
และข้อความที่เป็นการบรรยายและการพรรณนา
ป.๕/๓อธิบายความหมายโดยนัยจากเรื่องที่อ่านอย่างหลากหลาย
ป.๕/๔แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน
ป.๕/๕วิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านเพื่อนำไปใช้ในการดำเนินชีวิต
ป.๕/๖อ่านงานเขียนเชิงอธิบายคำสั่ง
ข้อแนะนำและปฏิบัติตาม
ป.๕/๗อ่านหนังสือตามความสนใจอย่างสม่ำเสมอและนำเสนอเรื่องที่อ่าน
ป.๕/๘
มีมารยาทใน
การอ่าน
|
ป.๕/๑
คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด
ป.๕/๒
เขียนสื่อสารโดยใช้คำได้ถูกต้อง ชัดเจน และเหมาะสม
ป.๕/๓เขียนแผนภาพโครงเรื่อง
และแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขียน
ป.๕/๔เขียนย่อความจากเรื่องที่อ่าน
ป.๕/๖เขียนแสดงความรู้สึกและความคิดเห็นได้ตรงตามเจตนา
ป.๕/๘เขียนเรื่องตามจินตนาการ
ป.๕/๙
มีมารยาทใน
การเขียน
|
ป.๕/๑พูดแสดงความรู้ความคิดเห็นและ
ความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.๕/๒ตั้งคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผล
จากเรื่องที่ฟังและดู
ป.๕/๓วิเคราะห์ความน่าเชื่อถือจากเรื่อง
ที่ฟังและดูอย่างมีเหตุผล
ป.๕/๔พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษา
ค้นคว้าจากการฟังการดูและการสนทนา
ป.๕/๕มีมารยาทในการฟังการดูและ
การพูด
|
ป.๕/๑
ระบุชนิดและหน้าที่ของคำในประโยค
ป.๕/๒
จำแนกส่วนประกอบของประโยค
ป.๕/๓เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถิ่น
ป.๕/๕บอกคำภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
|
ป.๕/๑สรุปเรื่องจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่อ่าน
ป.๕/๒ระบุความรู้และข้อคิดจากการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมที่สามารถ
นำไปใช้ในชีวิตจริง
ป.๕/๓อธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรม
|
เข้าใจและสามารถอธิบายรูปแบบการใช้ตัวการันต์ในภาษาไทยจากบทบรรยายที่กล่าวไว้ในวรรณกรรมที่เกี่ยวกับความจริงที่ถูกครอบงำและบิดเบือนด้วยสัญชาตญาณความกลัวของมนุษย์ที่จะเป็นภัยต่อตัวเองได้
|
สัปดาห์
ว/ด/ป
|
หน่วยการเรียนย่อยและสาระการเรียนรู้
|
การอ่าน
ท.๑.๑
|
การเขียน
ท ๒.๑
|
การฟัง ดู และพูด
ท ๓.๑
|
หลักการใช้ภาษา
ท๔.๑
|
วรรณคดีและวรรณกรรม
ท ๕.๑
|
เป้าหมายการเรียนรู้
|
สัปดาห์ที่
๗
(๒๑ – ๒๕ )ก.ย.
๒๕๕๘
|
หน่วยการเรียนรู้
นิทานไม้หลา
ปริศนาแห่งม้าตัวหนึ่ง ตอนที่๙ – ๑๑
หลักภาษาไทย
- สระคงรูป สระลดรูป และสระประสม
|
ป.๕/๑อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง
ป.๕/๒อธิบายความหมายของคำประโยค
และข้อความที่เป็นการบรรยายและการพรรณนา
ป.๕/๓อธิบายความหมายโดยนัยจากเรื่องที่อ่านอย่างหลากหลาย
ป.๕/๔แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน
ป.๕/๕วิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านเพื่อนำไปใช้ในการดำเนินชีวิต
ป.๕/๖อ่านงานเขียนเชิงอธิบายคำสั่ง
ข้อแนะนำและปฏิบัติตาม
ป.๕/๗อ่านหนังสือตามความสนใจอย่างสม่ำเสมอและนำเสนอเรื่องที่อ่าน
ป.๕/๘
มีมารยาทใน
การอ่าน
|
ป.๕/๑
คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด
ป.๕/๒
เขียนสื่อสารโดยใช้คำได้ถูกต้อง ชัดเจน และเหมาะสม
ป.๕/๓เขียนแผนภาพโครงเรื่อง
และแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขียน
ป.๕/๔เขียนย่อความจากเรื่องที่อ่าน
ป.๕/๖เขียนแสดงความรู้สึกและความคิดเห็นได้ตรงตามเจตนา
ป.๕/๘เขียนเรื่องตามจินตนาการ
ป.๕/๙
มีมารยาทใน
การเขียน
|
ป.๕/๑พูดแสดงความรู้ความคิดเห็นและ
ความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.๕/๒ตั้งคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผล
จากเรื่องที่ฟังและดู
ป.๕/๓วิเคราะห์ความน่าเชื่อถือจากเรื่อง
ที่ฟังและดูอย่างมีเหตุผล
ป.๕/๔พูดโต้วาทีเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษา
ค้นคว้าจากการฟังการดูและการสนทนา
ป.๕/๕มีมารยาทในการฟังการดูและ
การพูด
|
ป.๕/๑
ระบุชนิดและหน้าที่ของคำในประโยค
ป.๕/๒
จำแนกส่วนประกอบของประโยค
ป.๕/๓เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถิ่น
ป.๕/๕บอกคำภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
ป.๕/๗ใช้สำนวนได้ถูกต้อง
|
ป.๕/๑สรุปเรื่องจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่อ่าน
ป.๕/๒ระบุความรู้และข้อคิดจากการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมที่สามารถ
นำไปใช้ในชีวิตจริง
ป.๕/๓อธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรม
|
เข้าใจและสามารถอธิบายความเชื่อมโยงของสระแต่ละประเภทประกอบด้วย
สระคงรูป สระลดรูปและสระประสม
|
สัปดาห์
ว/ด/ป
|
หน่วยการเรียนย่อยและสาระการเรียนรู้
|
การอ่าน
ท.๑.๑
|
การเขียน
ท ๒.๑
|
การฟัง ดู และพูด
ท ๓.๑
|
หลักการใช้ภาษา
ท๔.๑
|
วรรณคดีและวรรณกรรม
ท ๕.๑
|
เป้าหมายการเรียนรู้
|
สัปดาห์ที่ ๘
( ๒๘– ๒ )ต.ค.
๒๕๕๘
|
หน่วยการเรียนรู้
นิทานไม้หลา ปริศนาแห่งม้าตัวหนึ่ง ตอนที่ ๑๒ -๑๓
หลักภาษาไทย
- การแต่งเรื่องสั้น
-
การเขียนบรรยาย
|
ป.๕/๑อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง
ป.๕/๒อธิบายความหมายของคำประโยค
และข้อความที่เป็นการบรรยายและการพรรณนา
ป.๕/๓อธิบายความหมายโดยนัยจากเรื่องที่อ่านอย่างหลากหลาย
ป.๕/๔แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน
ป.๕/๕วิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านเพื่อนำไปใช้ในการดำเนินชีวิต
ป.๕/๖อ่านงานเขียนเชิงอธิบายคำสั่ง
ข้อแนะนำและปฏิบัติตาม
ป.๕/๗อ่านหนังสือตามความสนใจอย่างสม่ำเสมอและนำเสนอเรื่องที่อ่าน
ป.๕/๘ มีมารยาทใน
การอ่าน
|
ป.๕/๑
คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด
ป.๕/๒ เขียนสื่อสารโดยใช้คำได้ถูกต้อง
ชัดเจน
และเหมาะสม
ป.๕/๓เขียนแผนภาพโครงเรื่อง และแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขียน
ป.๕/๔เขียนย่อความจากเรื่องที่อ่าน
ป.๕/๖เขียนแสดงความรู้สึกและความคิดเห็นได้ตรงตามเจตนา
ป.๕/๘เขียนเรื่องตามจินตนาการ
ป.๕/๙ มีมารยาทใน
การเขียน
|
ป.๕/๑พูดแสดงความรู้ความคิดเห็นและ
ความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.๕/๒ตั้งคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผล
จากเรื่องที่ฟังและดู
ป.๕/๓วิเคราะห์ความน่าเชื่อถือจากเรื่อง
ที่ฟังและดูอย่างมีเหตุผล
ป.๕/๔พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษา
ค้นคว้าจากการฟังการดูและการสนทนา
ป.๕/๕มีมารยาทในการฟังการดูและ
การพูด
|
ป.๕/๑ ระบุชนิดและหน้าที่ของคำในประโยค
ป.๕/๒ จำแนกส่วนประกอบของประโยค
ป.๕/๓เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถิ่น
ป.๕/๕บอกคำภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
ป.๕/๗ใช้สำนวนได้ถูกต้อง
|
ป.๕/๑สรุปเรื่องจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่อ่าน
ป.๕/๒ระบุความรู้และข้อคิดจากการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมที่สามารถ
นำไปใช้ในชีวิตจริง
ป.๕/๓อธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรม
ป.๕/๔ท่องจำบทอาขยานตามที่กำหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ
|
สามารถถ่ายทอดเรื่องราวจากความเข้าใจที่ได้จากการการอ่านหรือตามจินตนาการในรูปแบบการเขียนและการพูดได้
|
สัปดาห์
ว/ด/ป
|
หน่วยการเรียนย่อยและสาระการเรียนรู้
|
การอ่าน
ท.๑.๑
|
การเขียน
ท ๒.๑
|
การฟัง ดู และพูด
ท ๓.๑
|
หลักการใช้ภาษา
ท๔.๑
|
วรรณคดีและวรรณกรรม
ท ๕.๑
|
เป้าหมายการเรียนรู้
|
สัปดาห์ที่
๙
( ๕– ๙ )ต.ค.
๒๕๕๘
|
หน่วยการเรียนรู้
นิทานไม้หลา
ปริศนาแห่งม้าตัวหนึ่ง
-
สรุปองค์ความรู้การเรียนภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ Quarter ๒/๒๕๕๘ และนำเสนอ
หลักภาษาไทย
การถ่ายทอด
สื่อความเข้าใจ ต่อแก่นแท้ของวรรณกรรม
|
ป.๕/๑อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง
ป.๕/๒อธิบายความหมายของคำประโยค
และข้อความที่เป็นการบรรยายและการพรรณนา
ป.๕/๓อธิบายความหมายโดยนัยจากเรื่องที่อ่านอย่างหลากหลาย
ป.๕/๔แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน
ป.๕/๕วิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านเพื่อนำไปใช้ในการดำเนินชีวิต
ป.๕/๖อ่านงานเขียนเชิงอธิบายคำสั่ง
ข้อแนะนำและปฏิบัติตาม
ป.๕/๗อ่านหนังสือตามความสนใจอย่างสม่ำเสมอและนำเสนอเรื่องที่อ่าน
ป.๕/๘
มีมารยาทใน
การอ่าน
|
ป.๕/๑
คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด
ป.๕/๒
เขียนสื่อสารโดยใช้คำได้ถูกต้อง ชัดเจน และเหมาะสม
ป.๕/๓เขียนแผนภาพโครงเรื่อง
และแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขียน
ป.๕/๔เขียนย่อความจากเรื่องที่อ่าน
ป.๕/๖เขียนแสดงความรู้สึกและความคิดเห็นได้ตรงตามเจตนา
ป.๕/๘เขียนเรื่องตามจินตนาการ
ป.๕/๙
มีมารยาทใน
การเขียน
|
ป.๕/๑พูดแสดงความรู้ความคิดเห็นและ
ความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.๕/๒ตั้งคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผล
จากเรื่องที่ฟังและดู
ป.๕/๓วิเคราะห์ความน่าเชื่อถือจากเรื่อง
ที่ฟังและดูอย่างมีเหตุผล
ป.๕/๔พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษา
ค้นคว้าจากการฟังการดูและการสนทนา
ป.๕/๕มีมารยาทในการฟังการดูและ
การพูด
|
ป.๕/๑
ระบุชนิดและหน้าที่ของคำในประโยค
ป.๕/๒
จำแนกส่วนประกอบของประโยค
ป.๕/๓เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถิ่น
ป.๕/๕บอกคำภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
ป.๕/๗ใช้สำนวนได้ถูกต้อง
|
ป.๕/๑สรุปเรื่องจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่อ่าน
ป.๕/๒ระบุความรู้และข้อคิดจากการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมที่สามารถ
นำไปใช้ในชีวิตจริง
ป.๕/๓อธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรม
|
เข้าใจและสามารถถ่ายทอดทัศคติและมุมมองต่างๆต่อเรื่องราวที่ได้อ่านจากวรรณกรรม
|